อิฐ มอญ กล่อง จำหน่าย อิฐ มอญ ขาย อิฐ มอญ โรงงาน ผลิต อิฐ มอญ ราคา อิฐ มอญ รู อิฐ มอญ มาตรา ฐาน การควบคุมคุณภาพงานผนังอิฐ

อิฐ มอญ กล่อง จำหน่าย อิฐ มอญ ขาย อิฐ มอญ โรงงาน ผลิต อิฐ มอญ ราคา อิฐ มอญ รู อิฐ มอญ มาตรา ฐาน การควบคุมคุณภาพงานผนังอิฐ
วิธีการฉาบปูนแบบกดเม็ดทรายของแผงก่ออิฐมวลเบาโดยใช้ปูนฉาบสาเร็จรูป
1. การวางแผนงาน2. การเตรียมการก่อนเริ่มงาน3. ขั้นตอนการทางาน4. วิธีการตรวจสอบ5. กระบวนการจบงาน6. ปัญหาที่ควรระวัง1. การวางแผนงาน1.1 จัดเตรียมแบบ ศึกษารายละเอียดต่างๆ1.2 ศึกษารายละเอียดของวัสดุที่จะใช้ในโครงการ1.3 ทาการเลือกวัสดุที่จะใช้ในโครงการ1.4 จัดทาแผงตัวอย่าง เพื่อให้ทางบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนที่จะใช้วัสดุนั้นมาสาธิตวิธีการทางานเพื่อนามาวิเคราะห์ถึง เทคนิค ปัญหา และข้อควรระวังระหว่างการทางาน รวมไปถึงปริมาณที่ใช้จริงว่าเป็นไปตามข้อมูลเอกสารประกอบหรือไม่ แต่ส่วนใหญ่จะไม่ตรงเพราะใช้จริงจะมากกว่าเสมอ ดังนั้นเพื่อสอดคล้องกับการทางานจริง หัวข้อนี้ถือว่ามีความสาคัญระดับต้นๆ ก่อนลงมือทางานเสมอ1.5 ศึกษาแผนงานหลักของโครงการระยะเวลาที่จะต้องใช้1.6 เมื่อได้วัสดุและระยะเวลาแล้วจะต้องนามาวิเคราะห์ถึงแรงงานที่จะต้องใช้เพื่อให้ทันตามแผนงานหลักที่วางไว้1.7 เมื่อได้ วัสดุและแรงงานแล้วจากนั้นนามาวิเคราะห์ว่าในแต่ละวันใช้วัสดุเท่าไหร่ เพื่อวางแผนการนาวัสดุเข้าโครงการ เพราะเมื่อไม่มีการแผนก็จะเกิดความเสียหายกับวัสดุที่เข้ามา ปัญหาที่พบบ่อยที่สุดคือ วัสดุเข้ามาเยอะเกินไปทาให้ไม่มีที่จัดวางที่ดี ตากแดดตากฝน หรือไม่ก็วัสดุขาดจึงต้องหยุดการทางาน ดังนั้นจึงต้องมีการวางแผนเข้าโครงการในแต่ละวันไว้เสมอ1.8 กาหนดแผนงานให้สอดคล้องกับงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นงานระบบไฟฟ้าประปา และอื่นๆ2. การเตรียมการก่อนเริ่มงาน2.1 จัดเตรียมแบบและศึกษาว่าแผงก่อที่จะทาการฉาบนั้นมีอะไรที่เกี่ยวเนื่องด้วยไม่ว่าจะเป็นช่องเปิด งานระบบไฟฟ้า ประปาและอื่นๆ2.2 จัดเตรียมวัสดุที่จะใช้2.2.1 ปูนฉาบอิฐมวลเบาตราเสือคู่ หรือเทียบเท่า
2.2.2 ตาข่ายขนาด 3/8 นิ้ว
2.2.3 ตะปูสาหรับติดตาข่าย และติดปุ่ม2.3 จัดเตรียมแรงงาน2.3.1 สาหรับพื้นที่ประมาณ 25 ตร.ม. ใช้แรงงานประมาณ 4 คนแบ่งได้ยังนี้
- ช่างปูน 2 คน- กรรมกร 2 คน (ผสมปูนและเก็บขยะ)2.4 จัดเตรียมเครื่องมือ
2.4.1 เกรียงไม้
2.4.2 เกรียงพลาสติก
2.4.2 เกรียงขัดมัน
2.4.3 สามเหลี่ยม
2.4.4 ถังปูน2.4.5 กะบะปูน2.4.6 สายยางฉีดน้า
2.4.7 ลูกดิ่ง2.4.8 สายเอ็น
2.4.9 แปรงสลัดน้า
2.4.10 ไม้กวาดอ่อน
2.4.11 ฟองน้า
หมายเหตุ* อุปกรณ์ที่แตกต่างจากการฉาบธรรมดาก็คือ เกรียงขัดมัน เกรียงขัดมัน
ในที่นี้ ควรจะมีคุณภาพที่ดีกว่าเกรียงขัดมันธรรมดา กล่าวคือ จะต้องไม่อ่อน
เกินไป ไม่เว้า ไม่โก่ง เพราะจะทาให้ผนังที่ทาการฉาบนั้นเป็นไปตามเกรียงที่ใช้
เมื่อเกรียงไม่มีคุณภาพ คุณภาพผนังก็ไม่มีคุณภาพตามไปด้วย
3. ขั้นตอนการทางาน
วิธีการฉาบปูนแบบกดเม็ดทรายของแผงก่ออิฐมวลเบาโดยใช้ปูนฉาบสาเร็จรูป
3.1 การเตรียมพื้นที่การฉาบ3.2 การติดตาข่ายสี่เหลี่ยม
3.3 การราดน้ำก่อนฉาบ3.4 การติดปุ่มหาระดับและแนวฉากก่อนการฉาบ
3.5 การขึ้นปูนฉาบรอบแรก
3.6 การขึ้นปูนฉาบรอบแรกให้เต็มพื้นที่
3.7 การปรับผิวโดยใช้สามเหลี่ยมปาดให้เรียบตามปุ่มที่ติดไว้
3.8 การเสริมปูนบริเวณที่ปูนไม่เต็มโดยดูจากช่องว่างที่สามเหลี่ยม
3.9 การขึ้นปูนรอบที่ 2 ให้ความหนาของปูนอยู่ที่ประมาณ 2-3 มิลลิเมตร โดยทิ้ง
ระยะห่างจากรอบแรก จากการสังเกตรอยนิ้วมือที่กดลงไป ถ้ากดแล้วมีรอบบุ๋มประมาณ
1-2 มิลลิเมตรถือว่าใช้ได้จึงจะขึ้นปูนรอบ 2
3.10 การปั่นผิวหน้าให้เรียบสังเกตโดยการปั่นดู ถ้ามีปูนติดออกมามากหรือเกรียงติดแสดงว่ายังใช้ไม่ได้ แต่ถ้าปั่นแล้วลื่นไม่ติดและมีแต่เม็ดทรายหลุดออกมาถือว่าใช้ได้
3.11 การลงฟองน้าเพื่อให้เม็ดทรายหลุดออกให้เหลือแต่เนื้อปูนบริเวณผิวหน้า
3.12 การกดเม็ดทรายด้วยเกรียงขัดมันโดยทาหลังจากการปั่นเรียบลงฟองทันที
3.13 การขัดควรขัดในแนวดิ่งตรงเพราะแรงที่กดจะสม่าเสมอกว่าการขัดแบบใบพัด
3.14 การบ่มด้วยการฉีดน้า ควรทาหลังจากที่ฉาบเสร็จแล้ว 1 คืน
4 วิธีการตรวจสอบ4.1 วิธีการตรวจสอบก่อนการฉาบปูน
4.1.1 การตรวจสอบผนังก่อ เช็คแนวฉาบรวมไปถึงระยะว่าเป็นไปตามแบบ
หรือไม่
4.1.2 การตรวจสอบแนวดิ่งผนังว่าได้ดิ่งหรือไม่ ถ้าผนังไม่ได้ดิ่งให้แก้ไข
ก่อนการฉาบทันที
4.1.3 การตรวจสอบตาแหน่งช่องเปิด บล็อกไฟฟ้า ประปา ว่าตรงตามแบบ
หรือไม่ เพราะจะได้ไม่ต้องมาสกัดแล้วฉาบใหม่ภายหลัง
4.1.4 ตรวจสอบความหนาของปูนฉาบ โดยการใช้สามเหลี่ยมหรืออลูมิเนียมกล่อง ทาบดูโดยทาบจากปุ่มไปหาปุ่มว่ามีจุดไหนที่ติดบ้างถ้าติด
จะต้องสกัดให้ได้ตามความหนาที่ระบุในเอกสาร เมื่อความหนาไม่ได้อาจ
เกิดปัญหารอยร้าวตามมาภายหลังได้
5. กระบวนการจบงาน
5.1 ตรวจสอบหลังการฉาบหรือเมื่อปูนแห้งแล้ว ว่ามีรอยร้าว ร่อน เซี้ยมบิ่น ตาข่าย
โผล่ ฉาบไม่ชนเพดานหรือไม่ ถ้ามีให้ทาการแก้ไขทันที รวมไปถึงความสะอาดไม่
ว่าจะเป็นน้าปูนที่เลอะวงกบ ขี้ปูนที่ติดบริเวณพื้น ขยะต่างๆ ที่เกิดจากการฉาบ
จะต้องเก็บทาความสะอาดให้เรียบร้อย จึงจะส่งมองให้กับงานอื่นต่อไป
5.2 ตรวจสอบเพื่อรับมอบพื้นที่กับงานอื่นต่อไป
6. ปัญหาที่ควรระวังในการการทางานทุกขั้นตอน
6.1 การเตรียมพื้นที่การฉาบ
6.1.1 จะต้องไม่ให้มีช่องว่างระหว่างอิฐเพราะจะทาให้เกิดการยุบตัวและ
ร้าวในเวลาต่อมา ถ้าเกิดมีช่องว่างให้ใช่ปูนก่ออุดทุกครั้งก่อนทาการฉาบ
6.2 การติดตาข่าย
6.2.1 จะต้องติดทุกจุดที่มีเสาเอ็นทับหลังหรือบริเวณที่เชื่อมกับแผงคอนกรีต
6.2.2 ตาข่ายจะต้องติดให้แนบชิดกับผนังอิฐเสมอ เพราะถ้าไม่ติดจะทาให้
ตาข่ายโผล่ ออกมาเวลาทาสีจะเกิดสนิมขึ้นบริเวณนั้น
6.2.3 ขนาดตาข่ายที่ใช้ ผนังอิฐมวลเบาควรใช้ที่ 3/8 นิ้ว ผนังอิฐมอญควรใช้
ที่ . นิ้ว หรือขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบ6.3 การราดน้าก่อนฉาบ
6.3.1 ควรราดน้าทิ้งไว้ก่อนฉาบประมาณ 1 คืน(ราดตอนเย็นตอนเช้าฉาบ)
6.3.2 การราดน้าก่อนฉาบนั้นต้องขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม
ด้วย เพราะถ้าราดน้าน้อยเกินไป ก็จะทาให้ผนังก่อดึงเอาน้าจากปูนฉาบไป
เร็วเกินไปซึ่งจะทาให้ผนังเกิดการร้าวในเวลาต่อมาได้ หรือถ้าราดน้าเยอะ
เกินไป ก็จะทาให้ขั้นตอนการทางานช้าลงเพราะต้องรอให้ปูนหมาดก่อนถึง
จะทางานขั้นต่อไปได้
6.4 การกดเม็ดทรายด้วยเกรียงขัดมัน
6.4.1 เกรียงขัดมันจะต้องเรียบไม่โก่ง งอ หรือเว้า เพราะจะทาให้ผนังเป็น
คลื่นและไม่เรียบไปด้วย
6.4.2 การขัดจะต้องขัดด้วยแรงกดที่สม่าเสมอ
6.5 การบ่มน้าหลังจากฉาบปูนเสร็จ
6.5.1 ควรที่จะทาหรือไม่นั้นควรสังเกตจากสภาพอากาศและพื้นที่การฉาบ
ถ้าอากาศร้อนหรือผนังฉาบที่สัมผัสความร้อนโดยตรงเช่นผนังรอบนอกอาคาร ก็
ควรที่จะบ่มเพราะความร้อนจะทาให้ผนังคายน้าเร็วเกินไปทาให้เกิดรอยแตกร้าว
ได้ ดังนั้นจึงต้องมีการฉีดน้าบ่ม หรือถ้าผนังอยู่ในบริเวณที่ชื้นและผนังไม่สัมผัส
ความร้อนโดยตรง ก็ไม่จาเป็นต้องบ่มก็ได้ เพราะผนังจะคายน้าตามกระบวนการ
ตามปกติของมันเอง
ติดต่อคุณเต้ Tel:087 371 0238 Line id:tae9312